Page 54 - รายงานประปี 2567 สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1
P. 54

โครงการวิจัย การประยุกต์ใช้เทคนิคด้าน SPATIAL ANALYSIS


                       เพื อจัดทําแผนที ดินเค็มบริเวณลุ่มนํ าย่อย ลําสะเเทดและลําเชิงไกร
              1                                                       1                     1
                                                     2
                                   1
               นางสาวรวมพร มูลจันทร์   นายจิตรภานุ ศรีวิชัย   นายทศพร รอดหลง    นายวีระยุทธ คชวรรณ และ   นางสาวนัฐนรี อันรุ่งสุภาพร
                                 1
            1
                                                                     1
               Ruamporn Moonjun    Jitpanu Srivichai    Todsaporn Rodlhog   Veerayut Kochawan and   Natnaree Unrungsupaporn1
                                                                                            1
                                                  2
                  1
                                         1                       2
                                          สถานีพัฒนาที ดินสระบุรี และ     สถานีพัฒนาที ดินปทุมธานี
                                       1  Saraburi LDD station Land Development Department ,
                                      2
                                        Pathumtani LDD station Land Development Department
                             การศึกษาวิจัย  การประยุกต์ใช้เทคนิคด้าน  Spatial  Analysis  เพื อจัดทําแผนที ดินเค็ม
             บริเวณลุ่มนํ าย่อย    ลําสะเเทดและลําเชิงไกร     ในพื นที ศึกษาวิจัยฯตําบลหนองสรวง        อําเภอ
             ขามทะเลสอ จังหวัดนครราชสีมา และ ตําบลกระเบื องนอก อําเภอเมืองยาง จังหวัดนครราชสีมา มี
             วัตถุประสงค์  ดังนี   1)  เพื อศึกษาการใช้  EC-prob  เพื อการวัดค่าความเค็มของดิน  และ  2)  เพื อ
             ศึกษาเปรียบเทียบวิธีการจัดทําแผนที ดินเค็มโดยวิธี Kriging
                      จากการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เช่น แผนที ดิน แผนที ธรณีวิทยา แผนที
             สภาพภูมิประเทศ  และข้อมูลแผนที ภาพถ่ายออร์โธสีแล้วนําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยโปรแกรม
             GIS  จัดทําแผนที ดินมาตราส่วน1:25,000  พร้อมลงบนแผนที สภาพภูมิประเทศ  และซ้อนทับด้วย
             ข้อมูลธรณีวิทยาคัดเลือกจุดสํารวจและเก็บข้อมูลดินภาคสนาม  1.สํารวจสภาพภูมิ  ประเทศจริง

             พร้อมสํารวจสภาพการใช้ที ดินป จจุบันเพื อวางจุดเก็บสํารวจดินให้สอดคล้องกับป ญหาดิน  พร้อม
             บันทึกข้อมูลพืช นํ า ผลผลิต เป นต้น
                     ผลการศึกษา พบว่าพื นที ตําบลหนองสร้าง ดินมีค่าความเค็มที ระดับความลึก 0-20 มีค่า
             เฉลี ยที  32.30 ที ระดับความลึก 20-40 มีค่าเฉลี ยที  1.56 และ ที ระดับความลึก มีค่าเฉลี ยที  0.91

             และจากการวัดค่า EC-probe เปรียบเทียบกับค่า EC จากห้องปฏิบัติการ พบว่า ค่า EC-probe จะ
             เพิ มขึ นเมื อค่า EC ดินที วัดได้ลดลง ความสัมพันธ์ของค่า EC จากห้องปฏิบัติการ และจากอุปกรณ์
             EC-Probe ที ความลึก 0-20 เท่ากับ 0.885 20-40 เท่ากับ0.883 และ 40-60 เท่ากับ 0.563
              ส่วนตําบลกระเบื องนอก มีผลการศึกษา ดังนี  ดินที ค่าความเค็มที ระดับความลึก 0-20 มีค่าเฉลี ย
             ที  0.03 ที ระดับความลึก 20-40 มีค่าเฉลี ยที  0.05 และ ที ระดับความลึก มีค่าเฉลี ยที  0.03

              และจากการวัดค่า EC-probe เปรียบเทียบกับค่า EC จากห้องปฏิบัติการ พบว่า ค่า EC-probe จะ
             เพิ มขึ นเมื อค่า EC ดินที วัดได้ลดลง ความสัมพันธ์ของค่า EC จากห้องปฏิบัติการ และจากอุปกรณ์
             EC-Probe ที ความลึก 0-20 เท่ากับ 0.676 20-40 เท่ากับ0.528 และ 40-60 เท่ากับ 0.549

               สมบัติดินในพื นที ตําบลหนองสรวงมีค่า  EC  สูงกว่า  ตําบลกระเบื องนอก  ด้วยสภาพธรณีวิทยา
             ของตําบลหนองสรวงมีต้นกําเนิดของดินเค็ม คือ กลุ่มหินโคราช ในขณะที ตําบลกระเบื องนอกพบ
             ว่าวัสดุดินเป นตะกอนนํ าจึงปรากฏค่าความเค็มตํ ากว่า
                          จากการศึกษาการจัดทําแผนที สมบัติดิน (ค่า EC) ด้วยเทคนิค Kriging สามารถแสดง

             การกระจายตัวของค่าความเค็มที สอดคล้องกับสภาพพื นที ได้อย่างมีประสิทธิภาพ




















             รายงานประจําป  2567                                                                        51
   49   50   51   52   53   54   55   56