Page 55 - รายงานประปี 2567 สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1
P. 55

การใช้ปุ ยชีวภาพเชื อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา พด.13


                                           เพื อเพิ มผลผลิตพืชสมุนไพร

                                 1                1                   1
                                  นายจิระ มาตรทอง  นายนัฐพงษ์ แก้วรัตนชัย    นายศิรวิทย์ เชิดชู
                                            1
                             1 Jira Matthong  Nattapong Kaewrattanachai  and   Sirawit Chertchu
                                                                          1
                                      1  สถานีพัฒนาที ดินนครปฐม สํานักงานพัฒนาที ดินเขต 1
                        1
                         Nakonpathom Land Development Station Land Development regional office 1

                      การศึกษาการใช้ปุ ยชีวภาพเชื อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา  พด.13  เพื อเพิ มศักยภาพการ
              ผลิตสมุนไพร วัตถุประสงค์เพื อประเมินผลของการใส่ปุ ยชีวภาพเชื อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา
              พด.13  ต่อการเจริญเติบโต  ผลผลิต  และปริมาณสารสําคัญ  ในสมุนไพรบัวบก  ฟ าทะลายโจร

              และขมิ นชัน  โดยวางแผนการทดลองแบบ  RCBD  จํานวน  3  ซํ า  ประกอบด้วย  4  ตํารับการ
              ทดลอง คือ (1) ไม่ใส่ปุ ยและไม่ใส่ปุ ยชีวภาพ พด.13 (2) ใส่ปุ ยชีวภาพ พด.13 (3) ใส่ปุ ยเคมีตาม
              คําแนะนํา และ (4) ใส่ปุ ยเคมีตามคําแนะนําและใส่ปุ ยชีวภาพ พด.13 โดยมีพืชทดสอบ 3 ชนิด

              คือ สมุนไพรบัวบก ฟ าทะลายโจร และ ขมิ นชัน ผลการทดลองพบว่าวิธีการที  4 การใส่ปุ ยเคมี
              ตามคําแนะนําและใส่ปุ ยชีวภาพ  พด.13    มีผลทําให้การเจริญเติบโต  ผลผลิต  และปริมาณสาร
              สําคัญในพืชสมุไพร ดังนี
                    สมุนไพรบัวบก ผลการทดลองพบว่า มีผลทําให้การเจริญเติบโต ผลผลิต และปริมาณสาร
              สําคัญ  triterpenoids  ในสมุนไพรบัวบก  เพิ มขึ นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ  โดยมีผลทําให้

              ผลผลิตสดและแห้งเพิ มขึ น  30  และ  40  เปอร์เซ็นต์  ตามลําดับ  และมีผลทําให้ปริมาณสาร
              สําคัญ  triterpenoids  เพิ มขึ น  10  เปอร์เซ็นต์  โดยเฉพาะสารสําคัญ  asiaticoside,
              madecassoside และ madecassic acid  สมุนไพรฟ าทะลายโจร ผลการทดลอง พบว่า ไม่มี

              ผลต่อปริมาณผลผลิตฟ าทะลายโจร แต่มีผลทําให้ปริมาณสารสําคัญ andrographolide ในฟ า
              ทะลายโจรเพิ มขึ น  40  เปอร์เซ็นต์  และมีผลทําให้การเจริญเติบโตด้านพื นที ใบและนํ าหนักแห้ง
              ทั งหมดเพิ มขึ นได้  และ  สมุนไพรขมิ นชัน  มีผลทําให้ปริมาณผลผลิตสดและแห้ง    และปริมาณ
              สารสําคัญ curcuminoids เพิ มขึ นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ
                          ผลการวิจัยนี จึงชี ให้เห็นว่า  การใช้ปุ ยชีวภาพเชื อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา  พด.13  ช่วย

              เพิ มศักยภาพการผลิตสมุนไพรได้  สรุปผลการทดลอง  การใช้เชื อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา
              สําหรับระบบการเพาะปลูกสมุนไพร จะมีผลในการเพิ มการเจริญเติบโต ทําให้ได้ปริมาณผลผลิต
              เพิ มขึ น  ลดการใช้ปุ ยเคมี  และช่วยเพิ มคุณภาพด้านปริมาณสารสําคัญในวัตถุดิบสมุนไพร  ซึ ง

              จะทําให้วัตถุดิบสมุนไพรมีคุณภาพและมูลค่าดีขึ นได้  อีกทั งการใช้เชื อราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไร
              ซาในระบบการเพาะปลูกพืชสมุนไพร  จะช่วยเพิ มศักยภาพการผลิตสมุนไพรให้ได้มาตรฐานทั ง
              ในระบบการปลูกตามมาตรฐานเกษตรดีที เหมาะสม (GAP) และระบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์






















             รายงานประจําป  2567                                                                        52
   50   51   52   53   54   55   56