Page 51 - รายงานประปี 2567 สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1
P. 51

การศึกษาการใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที ดินเพื อเพิ มประสิทธิภาพการผลิต

                          ข้าวปทุมธานี 1 ในพื นที ตําบลทุ่งขวาง อําเภอกําแพงแสน


                                                   จังหวัดนครปฐม

                                                                             1
                                                         1
                                   1 นายนัฐพงษ์  แก้วรัตนชัย   นายจิระ มาตรทอง และ    นายศิรวิทย์ เชิดชู
                                1
                                                                              1
                                                             1
                                 Nattapong Kaewrattanachai    Jira Matthong and   Sirawit Chertchu
                                          1  สถานีพัฒนาที ดินนครปฐม สํานักงานพัฒนาที ดินเขต 1
                            1
                             Nakonpathom Land Development Station Land Development regional office 1

                              พื นที ส่วนใหญ่ของตําบลทุ่งขวาง อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม ใช้ประโยชน์ใน
               การทํานาเนื องจากมีแหล่งนํ าที สามารถทําการเกษตรได้ตลอดทั งป  ทําให้เกษตรกรสามารถทํานา
               ได้  2-3  ครั งต่อป   แต่พบว่าเกษตรกรมีการใช้ปุ ยเคมี  และสารเคมีทางการเกษตรในปริมาณสูง
               ขาดการปรับปรุงบํารุงดินทําให้ผลิตผลทางการเกษตรมีต้นทุนการผลิตที สูงขึ นกรมพัฒนาที ดิน
               มีภารกิจในการปรับปรุงบํารุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมในการปลูกพืช ให้คําแนะนําการ
               ผลิตพืชในพื นที ที เหมาะสมต่อการผลิตพืชสินค้าเป าหมาย  เพื อเพิ มศักยภาพในการผลิตและส่ง

               เสริมสนับสนุนการใช้สารอินทรีย์ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร  แนวทางการแก้ไขป ญหาและ
               ป องกันไม่ให้ทรัพยากรดินเสื อมโทรม  โดยใช้เทคโนโลยีการพัฒนาที ดินในการผลิต  และการใช้
               พืชปุ ยสดเพื อเพิ มผลผลิตทางการเกษตรดังนั น             จึงได้ทําการศึกษาการใช้เทคโนโลยีการ
               พัฒนาที ดินเพื อเพิ มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปทุมธานี      1    ในพื นที ตําบลทุ่งขวาง   อําเภอ

               กําแพงแสน  จังหวัดนครปฐม  เพื อเป นแนวทางในการปรับปรุงบํารุงดินในการผลิตข้าว  ทําให้
               เกษตรกรสามารถเพิ มผลผลิตข้าว  ในพื นที ตําบลทุ่งขวาง  อําเภอกําแพงแสน  จังหวัดนครปฐม
               ตลอดจนเป นแปลงสาธิตให้กับเกษตรกรในพื นที อื นที ประสบป ญหาเดียวกันต่อไป            การดําเนิน
               งาน  คัดเลือกพื นที ดําเนินการ  โดยพิจารณาจากพื นที ปลูกข้าว  ที มีศักยภาพแต่ยังมีการใช้ปุ ย
               เคมีและสารเคมีอัตราสูงจํานวน 5 แปลง โดย

                                 แปลงของเกษตรกรทั วไป  การเตรียมดิน  หลังจากที ทําการเก็บเกี ยวแล้ว  3-5  วัน
               เกษตรกรทําการอัดฟางในแปลง  ปล่อยนํ าขังไว้ในนา  3-5  วัน  จึงดําเนินการเตรียมดิน  โดยใช้
               โรตารี ตีดิน  เสร็จแล้วจึงทําเทือกปลูกข้าวด้วยวิธีการหว่านนํ าตม  อัตราเมล็ดพันธุ์  25  กิโลกรัม

               ต่อไร่ ใส่ปุ ยเคมี ครั งที  1 ใส่เมื อข้าวอายุ 25 วัน ปุ ยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่
               ร่วมกับปุ ยเคมีสูตร  16-20-0  อัตรา  25  กิโลกรัมต่อไร่  ครั งที   2  เมื อข้าวอายุ  60  วัน  ปุ ยเคมี
               สูตร 16-20-0 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ การเก็บเกี ยวข้าว ดําเนินการเก็บเกี ยวข้าวเมื อข้าวอายุ
               110 วัน

                            สมบัติทางเคมีของดินก่อนปลูกข้าว พบว่า ค่าความเป นกรดเป นด่าง เท่ากับ 5.2 อยู่
               ในระดับกรดจัด  ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน  เท่ากับ  1.78  เปอร์เซ็นต์  อยู่ในระดับปานกลาง
               ปริมาณฟอสฟอรัสที เป นประโยชน์  เท่ากับ  95  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  อยู่ในระดับสูงมาก  และ
               ปริมาณโพแทสเซียมที เป นประโยชน์ เท่ากับ 108 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ผลผลิตก่อนดําเนินการ

               มีนํ าหนักผลผลิตข้าว  800  กิโลกรัมต่อไร่  หลังดําเนินการมีนํ าหนักผลผลิตข้าว  786  กิโลกรัม
               ต่อไร่  ลดลงเท่ากับ  1.75  เปอร์เซ็นต์  มีต้นทุนผันแปรก่อนดําเนินการ  4,033  บาทต่อไร่  หลัง
               ดําเนินการ 4,083 บาทต่อไร่ มูลค่าผลผลิตก่อนดําเนินการ 6,560 บาทต่อไร่ หลังดําเนินการ
               6,445.2  บาทต่อไร่  ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรก่อนดําเนินการ  2,527  บาทต่อไร่  หลัง

               ดําเนินการ 3,543.2 บาทต่อไร่ และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C ration)ก่อนดําเนิน
               การ เท่ากับ 1.63 หลังดําเนินการ เท่ากับ 1.87




             รายงานประจําป  2567                                                                        48
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56