Page 49 - รายงานประปี 2567 สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1
P. 49
ผลของถ่านชีวภาพจากวัสดุท้องถิ นที แตกต่างกัน ต่อการปรับปรุงสมบัติ
ทางเคมีและกายภาพของดินเค็ม ภายใต้การอนุรักษ์ดินและนํ าแบบที 1
ในพื นที แอ่งโคราช
2
1 นายวุฒิชัย จันทรสมบัติ นายบวร บัวขาว นางภัทรานิษฐ์ช่วยสระน้อย และ นางนิภาพร ศรีบัณฑิต
3
3
1 2 3 3
Wuttichai Jantarasombat Boworn buakhao Phatranit Chuaysanoi and Niphaphorn Sribandit
1 กลุ่มวิเคราะห์ดิน สํานักงานพัฒนาที ดินเขต 1 จังหวัดปทุมธานี
Soil Analysis group, Land Development regional office 1
2
กลุ่มวิจัยและพัฒนาการปรับปรุงบํารุงดิน กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที ดิน จังหวัดกรุงเทพมหานคร
2
Soil Improvement Research and Development Group, Research and Development for Land Management Division
3
กลุ่มวิชาการเพื อการพัฒนาที ดิน สํานักงานพัฒนาที ดินเขต 3 จังหวัดนครราชสีมา
3 Technical for Land Development group, Land Development regional office 3
ถ่านชีวภาพสามารถผลิตได้จากวัสดุอินทรีย์ที เหลือทิ งทางการเกษตร โดยกระบวนการ
ไพโรไลซีสทําให้ถ่านชีวภาพมีรูพรุนขนาดเล็กอยู่อย่างหนาแน่น ช่วยในการอุ้มนํ า ดูดยึดธาตุ
อาหารในดิน และช่วยเพิ มประสิทธิภาพการใช้ ปุ ยเคมีการวิจัยจึงมีวัตถุประสงค์เพื อศึกษาชนิด
ของถ่านชีวภาพจากวัสดุเหลือทิ งท้องถิ นที แตกต่างกัน ต่อการ เปลี ยนแปลงสมบัติทางเคมีและ
กายภาพของดินเค็มพื นที นาดินเค็ม โดยวางแผนการทดลองแบบ Randomized Completely
Block Design (RCBD) จํานวน 11 ตํารับทดลอง จํานวน 3ซํ า ได้แก่ 1) ควบคุม 2) ใส่ปุ ยเคมี
ตามค่า วิเคราะห์ดิน 3-5) ใส่ถ่านชีวภาพแกลบ, ไม้ไผ่ และไม้อาคาเซีย อัตรา 600กิโลกรัมต่อไร่
ตามลําดับ 6-8) ใส่ถ่านชีวภาพ แกลบ, ไม้ไผ่ และไม้อาคาเซีย อัตรา 600กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับ
ปุ ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ตามลําดับ 9-11) ใส่ถ่าน ชีวภาพแกลบ ไม้ไผ่ และไม้อาคาเซีย อัตรา
600 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ ยเคมีอัตราครึ งหนึ งของค่าวิเคราะห์ดิน ตามลําดับ ผลการวิจัยพบ
ว่าการใช้ถ่านชีวภาพทั ง 3 ชนิด สามารถเพิ มปริมาณฟอสฟอรัสที เป นประโยชน์จาก 2.21
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม เป น 4.05 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ลดค่าการนําไฟฟ าจาก 4.53 มิลลิซีเมนท์
ต่อเมตร เป น 3.71 มิลลิซี เมนท์ต่อเมตร และยังช่วยลดความหนาแน่นรวมของดินจาก 1.63
กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร เป น 1.50 กรัมต่อลูกบาศก์ เซนติเมตร จึงทําให้ผลผลิตข้าวเพิ มขึ น
โดยการใช้ถ่านชีวภาพจากไม้ไผ่ อัตรา 600 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ ยเคมีอัตรา ครึ งหนึ งของค่า
วิเคราะห์ดิน ข้าวให้ผลผลิตเฉลี ยสูงสุด คือ 513.00กิโลกรัมต่อไร่ อีกทั งยังทําให้ได้กําไรสุทธิ
เฉลี ยสูงสุด คือ 3,691.78 บาทต่อไร่ ดังนั นสรุปได้ว่าการใช้ถ่านชีวภาพจากไม้ไผ่ อัตรา 600
กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ ยเคมีอัตราครึ งหนึ งของค่าวิเคราะห์ดิน ในชุดดินขามทะเลสอ กลุ่มชุดดิน
ที 20 ช่วยเพิ มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ลดความเค็ม ลดความหนาแน่นรวมของดิน ทําให้ข้าว
มีการเจริญเติบโตและผลผลิตสูงสุด และได้กําไรสุทธิการผลิตข้าวสูงสุด
รายงานประจําป 2567 46