Page 50 - รายงานประปี 2567 สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1
P. 50
การศึกษาข้อมูลพื นฐาน และประยุกต์ใช้ระบบธนาคารนํ าใต้ดิน
เพื อการเกษตรในพื นที จังหวัดชัยนาท
วันวิสาข์ จันทิกา
Wanvisa Jantika
สถานีพัฒนาที ดินชัยนาท สํานักงานพัฒนาที ดินเขต 1
Chainat Land Development Station Land Development regional office 1
การศึกษาข้อมูลพื นฐาน และประยุกต์ใช้ระบบธนาคารนํ าใต้ดินเพื อการเกษตรในพื นที
จังหวัดชัยนาท ได้ศึกษาข้อมูลพื นฐานด้านต่างๆ ของดินที มีผลต่อธนาคารนํ าใต้ดินระบบป ด
และศึกษาวัสดุที ต่างกันในการสร้างธนาคารนํ าใต้ดินระบบป ด 2 แบบ (แบบที 1 ใช้หินใหญ่
และหินย่อย และแบบที 2 ใช้ไม้ และหินย่อย) จากผลการศึกษาเปรียบเทียบธนาคารนํ าใต้ดิน
ระบบป ด กับความสัมพันธ์ต่อความชื นในดิน พบว่าความชื น ในดินทั ง 3 ระยะ (2.5, 5 และ
10 เมตร) และ 3 ระดับความลึก (0-30, 30-50 และ 50-80 เซนติเมตร) ความชื นในดินที
ระดับความลึก 0-30 เซนติเมตร มีความแตกต่างกันค่อนข้างน้อย แต่ความชื นในดินที ระดับ
ความลึก 30-50 เซนติเมตร และ 50-80 เซนติเมตร แปลงที มีธนาคารนํ าใต้ดินแบบที 1
และแบบที 2 มีค่าความชื นในดินสูงว่าแปลงที ไม่มีธนาคารนํ าใต้ดินทุกเดือน และเห็นผล
ชัดเจนในช่วงเดือนที ไม่มีฝนตกหรือในช่วงฤดูแล้ง เมื อรวมค่าความชื นในดินทั ง 3 ระดับ
ความลึก พบว่าแปลงที มีธนาคารนํ าใต้ดินมีค่าความชื น ในดินรวมสูงกว่าแปลงที ไม่มีธนาคาร
นํ าใต้ดินเฉลี ยเพิ มขึ น 2.99 - 4.58 เปอร์เซ็นต์ การใช้วัสดุที ต่างกัน ทั งแบบที 1 และแบบที 2
สามารถเพิ มปริมาณความชื นในดินและกักเก็บนํ าในดินได้ดีทั ง 2 แบบ สามารถใช้วัสดุ
ทดแทนกันได้ตามบริบทของพื นที ดังนั นจึงสรุปได้ว่า ธนาคารนํ าใต้ดินทั งแบบที 1 และแบบที
2 สามารถเพิ มปริมาณความชื นในดินได้ทั ง 2 แบบ และสามารถกระจายความชื นในแปลงได้ดี
โดยเฉพาะในดินชั นล่าง ส่งผลให้ความชื นในดินที อยู่ในรัศมีของธนาคารนํ าใต้ดินเป น
ประโยชน์แก่พืชที ปลูก เกษตรกรสามารถประยุกต์ใช้ระบบธนาคารนํ าใต้ดิน และวัสดุที หาได้ใน
พื นที ในการสร้างธนาคารนํ าใต้ดินระบบป ด เช่น การทําธนาคารนํ าใต้ดินระบบป ดแบบที 2
ด้วยการใช้ไม้หรือเศษไม้ในพื นที เป นวัสดุในการทําธนาคารนํ าใต้ดิน
รายงานประจําป 2567 47