Page 48 - รายงานประจำปี 2566 สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กรมพัฒนาที่ดิน
P. 48

รางวัลเลิศรัฐ

                                                                         “ระดับดี”


                                                                              Business


                      “ ข้าวหอมปทุมคลองพระอุดมปลอดภัย รวมใจฟ   นฟูคุณภาพดิน
                            เติมเต็มผลผลิต   พลิกชีวิตเกษตรกรในชุมชนเมือง”

                                                                            โดย  สถานีพัฒนาที ดินปทุมธานี
            1                                                       2
                 ที มาของป ญหา                                            วิธีดําเนินการ

                ในป  2563 ผลกระทบจากสภาวะนํ าทะเลหนุนสูง สภาพอากาศ   1. เริ มต้นจากการวิเคราะห์ดินก่อนการเพาะปลูก
              ที ร้อนจัดและภัยแล้งที ประเทศไทยได้เผชิญ ในพื นที หมู่ 6 ตําบล  แบบเบื องต้น โดยใช้ชุด TEST KIT ของทาง
              คลองพระอุดม อําเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี  1 ในพื นที   กรมพัฒนาที ดิน  มาวิเคราะห์ธาตุอาหาร  PH
              ได้รับความเสียหายจากนํ าทะเลหนุนและประกอบกับการเผาตอ     และ   วัดประมาณความเค็มในดินด้วยเครื อง
              ซังในนาข้าวมาเป นระยะเวลานาน   ทําให้พื นที ทําการเกษตรดัง  EC  METER  หลังจากทราบค่าดังกล่าว  เจ้า
              กล่าวเสื อมโทรมในพื นปลูกข้าว  เกิดคคราบเกลือในนา  ดินแข็ง  หน้าที จึงเริ มให้คําแนะนําจากการเปลี ยนจาก
              และแตกระแหง  ทําให้ส่งผลกระทบต่อการทําการเกษตรทั งทาง    เผาตอซังฟางข้าวมาเป นหมักตอซังและฟาง
              ตรงและทางอ้อม  ทําให้การเพาะปลูกข้าวในพื นที ดังกล่าวทําได้  ข้าว
              ด้วยความอยากลําบาก หว่านข้าวไปแล้ว ข้าวแตกกอยืนต้นตาย
                                                                      2.ใช้นํ าหมักชีวภาพ  พด.2  หมักจากสับปะรด
              จากสภาวะภัยแล้ง อากาศที ร้อน และผลกระทบจากนํ าทะเลหนุน
              สูง   ส่งผลให้เกษตรกรหลายรายต้องมีรายจ่ายที ต้องลงทุนใน  เพื อย่อยสลายตอซังฟางข้าวแทนการเผา

              การทําการเกษตรเพิ มขึ น ทั งซื อเมล็ดพันธุ์ข้าว ซื อปุ ยเคมี เพราะ  3.ลดการใช้ปุ ยเคมี  โดยใช้ปุ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
              เกษตรกรเข้าใจว่าพื นที ดังกล่าวขาดธาตุอาหารในดิน  เกษตรกร  ซื อแม่ปุ ยมาทําการผสมปุ ยใช้เอง   และนําไปใช้
              บางคนถึงกับต้องกู้หนี ยืมสินเพื อมาใช้ในการลงทุน  แต่ในทาง  ปรับเปลี ยนจากการใช้สารเคมีในการกําจัดแมลง
              กลับกันผลผลิตที ได้จากการทํานานั นกลับสวนทางกับรายจ่ายที   ศัตรูพืช มาเป นสารชีวภัณฑ์ของกรมพัฒนาที ดิน
              เกษตรกรได้ลงทุนไปในการทํานา  บางพื นที ทํานา  1  ไร่  ได้
              ผลผลิตแต่  600  กิโลกรัม  บางแปลง  ได้ไม่ถึง  400  กิโลกรัม
              โดยปกติข้าวหอมปทุมจะมีผลผลิตเฉลี ยอยู่ที   700  –  1000
              กิโลกรัม(กรมการข้าว2562)
                      นายสุวรรณ  ปานปูน  หมอดินอาสาประจําตําบลคลองพระ
              อุดม  อําเภอลาดหลุมแก้ว  จังหวัดปทุมธานี  หนึ งในเกษตรกรที
              ได้รับผลกระทบดังกล่าว ในป  2563 มีผลผลิตจากการปลูกข้าว
              พันธุ์หอมปทุม  อัตรา  346  กิโลกรัมต่อไร่  จึงได้เข้าปรึกษากับ
              เจ้าหน้าที พัฒนาที ดินปทุมธานี  และเริ มดําเนินการสํารวจพื นที ที
              เกิดป ญหาดังกล่าว  โดยใช้พื นที นาของตนเองเป นแปลงทดลอง
              ในการเพาะปลูกข้าวปรังป  2564 และนาป  2565






















                                                                                                              40
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53