Page 45 - รายงานประจำปี 2566 สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กรมพัฒนาที่ดิน
P. 45

รางวัลเลิศรัฐ “ระดับดีเด่น”






                “หมอดินอาสาพาเกษตรกรแก้จน ด้วยเกษตรอินทรีย์ และ BCG MODEL“
                                                                             Business

                                                                               โดยสถานีพัฒนาที ดินสระบุรี




                  1 ที มาของป ญหา

                      พื นที ตําบลซับสนุ่น  อําเภอมวกเหล็ก  ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์เพื อการเกษตร  ประชากรร้อยละ  80  มี
              อาชีพทําการเกษตร ปลูกพืชไร่ ปศุสัตว์ (โคนม) ไม้ผลไม้ยืนต้น พืชผักและอื น ๆ แต่เกษตรกรยังประสบ
              ป ญหาหนี สิน เนื องจากอาหารสัตว์มีราคาสูง ถึงแม้จะสามารถผลิตอาหารสัตว์เองบางส่วนแต่ผลผลิตยัง
              ไม่เพียงพอและต้นทุนที สูงจากค่าใช้จ่ายด้านปุ ยเคมีและสารเคมี  มีการใช้พื นที ดินเพื อการเกษตรมานาน
              กว่า  50  ป   ทําให้ทรัพยากรดินในพื นที เสื อมโทรมลง  พบว่า  ดินส่วนใหญ่เป นชุดดินปากช่องมีความอุดม
              สมบูรณ์ตํ า ธาตุอาหารสําหรับพืชตํ า ทําให้เกษตรกรใช้ปุ ยเคมีเพื อการเกษตรสูงไปด้วย โดยก่อนป  2560
              ครัวเรือนเกษตรกรมีภาวะหนี สินด้านการเกษตรถึงร้อยละ 90 และข้อมูลจาก สํานักงานสถิติแห่งชาติ ป
              2562 พบว่า ประชาชนในจังหวัดสระบุรี มีหนี สินเฉลี ย 127,274.75 บาท ต่อครัวเรือน
                   ดังนั น ใน 2564 สถานีพัฒนาที ดินสระบุรี ได้ร่วมกับนายสมพร อาภาศิริกุล หมอดินหมู่บ้านโปร่งเกตุ
              ตําบลซับสนุ่น  อําเภอมวกเหล็ก  จังหวัดสระบุรี  ผู้ริเริ มแนวทางในการทําการเกษตรผสมผสานเพื อลด

              ภาระหนี สินที เกิดจากการทําการเกษตร มีกลุ่มเป าหมาย คือ เกษตรกรในพื นที ผู้เลี ยงโคนมและปลูกพืชไร่
              เช่น  มันสําปะหลัง  อ้อย  และข้าวโพด  โดยเริ มจัดตั งกลุ่มเกษตรกรเพื อทําเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม
              (PGS) ใน 2 ชนิดพืช คือ มันสําปะหลัง หม่อนทานสด และทําเกษตรผสมผสานด้วยการปลูกพืชผักผลไม้
              ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง  ซึ งสอดคล้องกับแนวทางของ  BCG  model  มาเปลี ยนแนวคิดในการ
              ทําการเกษตรแบบดั งเดิม  คือการทําเกษตรเชิงเดี ยว  มาทําการเกษตรแบบผสมผสานและมุ่งเน้นการทํา
              ใช้พื นที อย่างยั งยืน  โดยการทําปศุสัตว์และพืชไร่หมุนเวียน  เพื อมาผลิตพืชอาหารสัตว์สําหรับโคนมของ
              ตนเอง  ทดแทนการใช้อาหารสัตว์สําเร็จรูปตามท้องตลาด  และนํามูลวัวยังสามารถนํามาผลิตแก๊สชีวภาพ
              สําหรับใช้ในครัวเรือน


                                                               หมอดินอาสมพร  อาภาศิริกุล  มีการผลิตปุ ยหมัก
                                                             จากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 และมีนํานํ านมดิบสามารถ
                                                             นํามาผลิตนํ าหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์  พด.2
                                                                           Marketing
                                                             เพื อใช้ทดแทนปุ ยเคมีและสารเคมีทางการเกษตร
                                                             และการปรับปรุงบํารุงดินด้วยพืชปุ ยสด(ปอเทือง
                                                             และถั วพร้า)   นอกจากนี มี    การใช้สมุนไพรเพื อ
                                                             ป องกัน  กําจัดโรคแมลงศัตรูพืช    โดยใช้ผลิตภัณฑ์
                                                             สารเร่ง  พด.7  แทนการใช้สารเคมี  ซึ งลดต้นทุนการ
                                                             ผลิตและเพิ มผลผลิตให้สูงขึ น   ทําให้สามารถหมด

                                                             ภาระหนี สินได้อย่างยั งยืน











                                                                                                              42
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50