Page 44 - รายงานประจำปี 2566 สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กรมพัฒนาที่ดิน
P. 44
ผลลัพธ์จากการดําเนินงานในการสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที นําไปสู่
การเปลี ยนแปลงอย่างมีนัยสําคัญในพื นที
1. ป 2565 ตั งแต่เดือนมกราคม - พฤศจิกายน กลุ่ม
ร่วมใจเกษตรอินทรีย์ มีรายได้ในครอบครัวเฉลี ยเดือนละ
20,000-25,000 บาท จากการขายผลผลิตผัก เฉลี ยมี
กําไร 10,000 – 20,000 บาท ต่อครัวเรือน/เดือน
2.. พื นที เกษตรอินทรีย์ เพิ มขึ น 23 ไร่ 2 งาน จากกลุ่ม
ร่วมใจเกษตรอินทรีย์และขยายผลเพิ มขึ นได้ 35 ไร่ 2 งาน
( จากเกษตรกรที ขอเข้าร่วมกลุ่มร่วมใจเกษตรอินทรีย์เพื อ
ปรับเปลี ยนสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ 12 ราย และการขยาย
ผลกลุ่ม PGS จํานวน 1 กลุ่ม คือกลุ่ม เกษตรอินทรีย์
ราษฎร์นิยม 5 ราย ) ส่งผลให้สภาพแวดล้อมในชุมชนดีขึ น
3. มีเกษตรกรผู้ผลิตผักรายอื นในพื นที เห็นตัวอย่างของ
สมาชิกภายในกลุ่มที ประสบความสําเร็จ ขอเข้าร่วมกลุ่ม
เพิ มเติม ณ วันที 20 พฤศจิกายน 2565 จํานวน 12 ราย
ซึ งได้เริ มต้นจากการการเกษตรแบบเคมี โดยพัฒนาต่อย
อด โดยเริ มจากขอการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที
ดี (GAP) จนผ่านการรับรอง และอยู่ในช่วงปรับเปลี ยนสู่
ระบบเกษตรอินทรีย์
4. เกษตรกรมีช่องทางการตลาดมากขึ น ผู้ประกอบการ
สนใจในผลิตภัณฑ์อินทรีย์ติดต่อเข้ามาเพิ มมากขึ น
เนื องจากแหล่งผลิตอยู่ใกล้เมืองหลวง การคมนาคม
สะดวก รวดเร็ว เพิ มโอกาสและศักยภาพของพื นที ใน
อนาคต
5. คนในพื นที มีอาชีพสุจริตในการทํางาน และหันมาสนใจ
การเกษตรอินทรีย์เพิ มมากขึ น
ประโยชน์ที ประชาชน กลุ่มเป าหมาย และ
หน่วยงานได้รับจากกระบวนการมีส่วนร่วมที
สร้างผลกระทบสูงกับคุณภาพชีวิตและ
ความเป นอยู่ของประชาชน
การดําเนินงานสมาชิกในกลุ่ม “ร่วมใจเกษตรอินทรีย์” มีรายได้ในครอบครัวเฉลี ยเดือนละ 20,000-
25,000 บาท ทําให้เกษตรกรมีความอยู่ดีขึ น เกษตรกรสามารถปลดหนี สิน และมีรายได้เพิ มขึ น ช่วย
ขจัดความยากจน (SDG1) ลดความหิวโหยของเกษตรกร (SDG2) นอกจากนี พื นที ทําการเกษตรเริ ม
ตั งแต่มีการปรับเปลี ยนเป นเกษตรอินทรีย์ ตั งแต่ป 2562 ทําให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ ส่งผลให้ระบบ
นิเวศดีขึ นอย่างต่อเนื อง ปริมาณธาตุอาหารในดิน มีความอุดมสมบูรณ์สูง ไม่ต้องพึ งพาปุ ยเคมี สารเคมี
ในการผลิต ทําให้สุขภาพของผู้ผลิตและผู้บริโภคปลอดภัย มีสุขภาพที แข็งแรง สอดคล้องกับ (SDG3)
การมีสุขภาพและความเป นอยู่ที ดี ลดความเหลื อมลํ าของสังคม (SDG10)
39