Page 51 - รายงานประจำปี 2566 สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กรมพัฒนาที่ดิน
P. 51
ผลของปุ ยชีวภาพ พด.12 ร่วมกับปุ ยเคมี เพื อปลูกถั วเหลือง
ฝ กสดเป นพืชหลังนาในพื นที ตําบลบ้านพริก อําเภอบ้านนา
จังหวัดนครนายก
พิสมัย ยกย่อง กัญจน์รัชต์ ลชิตาวงศ์ ฉลวย ดวงดาว เพชรราช มณีนิล
Pissamai Yokyong Kanjarat Lachitavong Chaluai Duagdao Petcharatch Manenil
สถานีพัฒนาที ดินพระนครศรีอยุธยา สถานีพัฒนาที ดินนครนายก, กลุ่มวิเคราะห์ดิน สํานักงานพัฒนาที ดินเขต 1
Phra Nakhon Si Ayutthaya Land Development Station, Nakhon Nayok Land Development
Station,Soil Analysis Group, Land Development Regional Office 1
บทคัดย่อ
ผลของการใช้ปุ ยชีวภาพ พด.12 ร่วมกับปุ ยเคมี เพื อปลูกถั วเหลืองฝ กสดเป นพืชหลังนา ในพื นที
ตําบลบ้านพริก อําเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก ดําเนินการในกลุ่มชุดดินที 16 ชุดดินหินกอง เป นดิน
ลึก ดินร่วนเหนียวปนทรายแป ง มีศิลาแลงอ่อน (Hk-pic-siclA/d5,E0) การระบายนํ าค่อนข้างเลว
ถึงเลว ระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ. 2563 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 โดยมีวัตถุประสงค์เพื อศึกษา
ประสิทธิภาพปุ ยชีวภาพ พด.12 ที มีผลต่อการเปลี ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน การเจริญเติบโต
ผลผลิต และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของถั วเหลืองฝ กสด วางแผนการทดลองแบบสุ่มบล็อก
สมบูรณ์ (Randomized Complete Block Design: RCBD) ประกอบด้วย 6 ตํารับการ
ทดลอง จํานวน 4 ซํ า คือ 1) ไม่ใส่ปุ ยเคมี ไม่ใส่ปุ ยชีวภาพ 2) ใส่ปุ ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กิโลกรัม
Business
ต่อไร่ 3) ใส่ปุ ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ((N-P2O5-K2O) อัตรา 15-3-0 กิโลกรัมต่อไร่) 4) ใส่ปุ ย
ชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน ((N-P2O5-K2O)
อัตรา 15-3-0 กิโลกรัมต่อไร่) 5) ใส่ปุ ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ ยเคมี 75
เปอร์เซ็นต์ของค่าวิเคราะห์ดิน ((N-P2O5-K2O) อัตรา 11.25-2.25-0 กิโลกรัมต่อไร่) และ 6) ใส่ปุ ย
ชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ของค่าวิเคราะห์ดิน ((N-
P2O5-K2O) อัตรา 7.5-1.5-0 กิโลกรัมต่อไร่)
ผลการศึกษาพบว่า การเปลี ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน ได้แก่ ค่าความเป นกรดเป นด่างของ
ดินทุกตํารับหลังการทดลองไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ปริมาณอินทรียวัตถุของทุกตํารับการ
ทดลองไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่มีแนวโน้มเพิ มขึ นเนื องจากการไถกลบใบ ก้านใบ และเศษ
Marketing
พืชหลังฤดู การผลิต เป นการเพิ มอินทรียวัตถุและปรับปรุงบํารุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ ปริมาณ
ธาตุฟอสฟอรัสที เป นประโยชน์ในดินอยู่ในระดับปานกลางถึงสูงมากและมีความแตกต่างกันทางสถิติ
ปริมาณธาตุโพแทสเซียมที เป นประโยชน์ในดินหลังฤดูปลูกที 1 ลดลงเล็กน้อย แต่มีปริมาณเพิ มสูงขึ น
ในทุกตํารับการทดลองหลังฤดูปลูกที 2 สําหรับการเจริญเติบโตและผลผลิตของถั วเหลืองฝ กสด พบ
ว่า ตํารับการทดลองที 4 ใส่ปุ ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ ยเคมีตามค่า
วิเคราะห์ดิน ((N-P2O5-K2O) อัตรา 15-3-0 กิโลกรัมต่อไร่) มีผลทาให้ค่าเฉลี ยตลอดการทดลอง
ของความสูงลําต้น จํานวนกิ งต่อต้น จํานวนข้อต่อต้น ความยาวฝ ก ความกว้างฝ ก จํานวนฝ กต่อต้น
นํ าหนักฝ กต่อต้น และผลผลิตต่อไร่ มีค่าเฉลี ยมากที สุดเมื อเปรียบเทียบกับตํารับการทดลองอื น
เท่ากับ 35.62 เซนติเมตร 2.87 กิ งต่อต้น 7.99 ข้อต่อต้น 5.86 เซนติเมตร 1.40 เซนติเมตร 24.38
ฝ กต่อต้น 51.44 กรัมต่อต้น และ 1,932.71 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลําดับ ด้านผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
พบว่า ตํารับการทดลองที 4 มีผลตอบแทนสูงที สุด เท่ากับ 13,661.64 บาทต่อไร่ แม้จะมีต้นทุนการ
ผลิตสูงที สุด แต่รายได้ต่อไร่ก็สูงกว่าตํารับการทดลองอื น ๆ (23,192.46 บาทต่อไร่ )
46