Page 56 - รายงานประจำปี 2566 สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กรมพัฒนาที่ดิน
P. 56

51











                       การติดตามและประเมินความเสี ยงจากภัยแล้ง
                         ทางการเกษตรด้วยกูเกิลเอิร์ธเอนจิน (GEE)


                            พื นที ลุ่มนํ าป าสักตอนล่าง ประเทศไทย


                       นางสาวรวมพร มูลจันทร์  นายจิตรภานุ ศรีวิชัย  นายทศพร รอดหลง  นายเผด็จการ เริงสําราญ
                                        นายวีระยุทธ คชวรรรณ นางสาวป ยวรรณ กันต์นิกูล
                 Ruamporn Moonjun, Jitpanu Srivichai, Todsaporn Rodlhong, Padejkarn Ruengsamran,
                                       Weerayut Kochawan, Piyawan KanniKul1
                            สถานีพัฒนาที ดินสระบุรี, สถานีพัฒนาที ดินสมุทรปราการ, สถานีพัฒนาที ดินนนทบุรี
                                                      กรมพัฒนาที ดิน
              Saraburi Land Development Station, Samut Prakan Land Development Station, Nonthaburi
                                              Land Development Station,
                                            Land Development Department


                                                       บทคัดย่อ


                      ภัยแล้งสร้างผลกระทบอย่างมากต่อพื นที เกษตรกรรม เนื องจากต้องพึ งพาปริมาณนํ าฝนเป นหลักการ

                ติดตามภัยแล้งทางการเกษตรมีความสําคัญอย่างยิ งต่อการรักษาความมั นคงทางอาหารของโลกจากการ
                ศึกษาการประยุกต์ใช้กูเกิลเอิร์ธเอนจินแพลตฟอร์ม(Google  Earth  Engine  :  GEE)  เพื อวิเคราะห์พื นที
                แสดงความเสี ยงภัยแล้งทางการเกษตรด้วยดัชนีภัยแล้งทางการเกษตร    คือ   ดัชนีพืชผลแตกต่างปกติ
                                                                                 Business
                (NDVI) ดัชนีสภาพพืชพรรณ (VCI) ดัชนีสภาพอุณหภูมิ (TCI) และ ดัชนีสุขภาพพืช (VHI) ในพื นที ลุ่มนํ าป า
                สักตอนล่าง  ในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคม  2566  พบว่าสามารถประเมินพื นที เสี ยงภัยแล้งจากค่า
                VHI ออกเป น 5 ระดับ ดังนี  พื นที เสี ยงภัยแล้งทางการเกษตรที ระดับปานกลางมีเนื อที มากที สุด 904,713 ไร่
                รองลงมา  คือ  ระดับรุนแรง  ระดับรุนแรงมาก  ระดับเล็กน้อย  และไม่มีความเสี ยง  ตามลําดับ  (671,765,

                474,234, 430,169 และ 101,683 ไร่)
                     ดังนั น การประยุกต์ใช้ค่าดัชนีภัยแล้งทางการเกษตรด้วย VCI และ VHI เพื อวิเคราะห์ผล
                กระทบของสีเขียวในการเกษตรในขณะที   TCI  เพียงอย่างเดียวจะใช้เพื อประเมินความเครียดของพืชเนื องจาก
                อุณหภูมิพื นผิวโลก จึงมีความเหมาะสมในการประเมินภัยแล้งทางการเกษตร
                ดังนั นทั ง  VCI  และ  VHI  จึงสามารถนํามาใช้ในการติดตามและประเมินภัยแล้งทางการเกษตรได้  แต่อย่างไร
                                                                           Marketing
                ก็ตาม   VHI     นั นจะมีข้อได้เปรียบกว่า   TCI   โดยมีประสิทธิภาพมากกว่าเนื องจากเป นตัวแทนที ดีของ
                ปรากฏการณ์การเกิดภัยแล้ง  ซึ งจากการศึกษาครั งนี   จะสามารถใช้เป นแนวทางการประยุกต์ใช้กูเกิลเอิร์ธเอน
                จิน  (GEE)  เพื อการเฝ าติดตามและประเมินผลความเสียหายจากภัยแล้งทางการเกษตรด้วยวิเคราะห์ภาพถ่าย
                ดาวเทียมที มีความสะดวก รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื อสามารถช่วยวางแผนด้านการเกษตร ต่อไป


















                                                                                                               51
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61