Page 58 - รายงานประจำปี 2566 สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 กรมพัฒนาที่ดิน
P. 58

ศึกษาเปรียบเทียบการทํานาลดต้นทุนโดยใช้ปุ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
                      ในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ กรณีศึกษา


                             ตําบลหนองผักนาก อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี




















                                          ทนง ไม้เลี ยง ไพริน เพ็งสุข และนิมิต สว่างศรี
                                Thanong Mailiang Pairin Pengsuk and Nimit Sawangsri
                                                 สถานีพัฒนาที ดินสุพรรณบุรี
                                        Saphan Buri Land Development Station



                                                          บทคัดย่อ

                         การวิจัยนี มีวัตถุประสงค์  เพื อเปรียบเทียบผลผลิต  การเปลี ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดินใน
               พื นที   นาแปลงใหญ่ระหว่างวิธีการใส่ปุ ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินกับวิธีของเกษตรกร  และเปรียบเทียบ
               ต้นทุน  ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ  ดําเนินการในพื นที แปลงนาข้าวของเกษตรกร  จํานวน  30
                                                                                 Businessราย
               แยกเป น 3 ชุดดิน คือ ชุดดินชัยนาท จํานวน 4 ราย ชุดดินเดิมบาง จํานวน 9 ราย และชุดดินดอน
               เจดีย์  จํานวน  17  ราย  ผลการศึกษาพบว่า  วิธีการใส่ปุ ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน  ทําให้สมบัติทางเคมี
               ของดินดีขึ น  มีค่าความเป นกรดเป นด่างสูงขึ นเป น  5.9  ปริมาณไนโตรเจน  ปริมาณฟอสฟอรัสที เป น
               ประโยชน์ และปริมาณโพแทสเซียม ที เป นประโยชน์มีค่าเพิ มขึ นเป น 0.08 เปอร์เซ็นต์ 9.00 มิลลิกรัม
               ต่อกิโลกรัม  และ  23.30  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  ตามลําดับ  วิธีการใส่ปุ ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินให้
               ผลผลิตเฉลี ยสูงกว่า คือ เท่ากับ 829.63 กิโลกรัมต่อไร่ มีต้นทุนการผลิตเฉลี ยลดลงเป น 4,262.79
               บาทต่อไร่  แต่ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงขึ น  ด้วยค่าผลประโยชน์ต่อการลงทุน  (B/C  ratio)
               เท่ากับ 1.61 ซึ งสูงกว่าวิธีของเกษตรกร การเปรียบเทียบระหว่างชุดดิน พบว่า ชุดดินเดิมบางมีความ
                                                                           Marketing
               เหมาะสมต่อการปลูกข้าวมากที สุด ด้วยต้นทุนการผลิตข้าวตํ าที สุด เท่ากับ 4,242.11 บาทต่อไร่
               มีมูลค่าของผลผลิตสูงสุด  เท่ากับ  7,299.63  บาทต่อไร่  ค่าใช้จ่ายในการผลิตตํ าสุด  เท่ากับ  4.86
               บาทต่อกิโลกรัม  และค่าผลตอบแทนเหนือค่าใช้จ่ายผันแปรสูงสุด  เท่ากับ  2,987.52  บาทต่อไร่  และ
               ค่าผลประโยชน์ต่อการลงทุน (B/C ration) สูงสุด เท่ากับ 1.70


















                                                                                                              53
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62